ทฤษฎีเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท (เอนโชรน)บันทึกท้ายเรื่องโดยเอ็นจินและคนอื่นๆ
ลายเส้นดำบนกระดาษขาว/ หนึ่งม้วน 21 แผ่น


- ต้นฉบับ
- การแปล
"อินเน็นชินรน" ของ พระนาคารชุนะ (พระภิกษุชาวอินเดีย) เป็นคัมภีร์ที่ได้รับการขยายความอย่างละเอียดโดย อุลลังกะ ต่อมาในสมัยราชวงศ์สุย ได้รับการแปลเป็นภาษาจีนโดย ธรรมากุปตะ (?- ค.ศ. 619 ) พระจากอินเดียใต้ คัมภีร์นี้ประกอบด้วย บทโศลก(บทประพันธ์ภาษาสันสกฤต) จำนวน 30 บทที่กล่าวถึงหลักเหตุปัจจัยสิบสองประการ โดยมีคำอรรถาธิบาย 11 บทที่ขยายความเนื้อหาของบทโศลกเหล่านั้นอย่างละเอียด
- ประเภท
- สมบัติของชาติ
- สมัย
- 6 มกราคม ค.ศ.858
- ขนาด
- 21.0×14.4 ซม.
เอกสารและหนังสือที่เกี่ยวข้อง
-
บันทึกรายการแสวงธรรมที่วัดไคหยวน
-
บันทึกรายการแสวงธรรมในฝูโจว เวินโจว และไท่โจว
-
บันทึกรายการพระสูตรที่แสวงธรรมที่วัดชิงหลง
-
บันทึกรายการแสวงธรรมที่วัดกั๋วชิง
-
บันทึกรวมรายการแสวงธรรมที่วัดกั๋วชิงและวัดอื่นๆ
-
บงเคียว (ชุดคัมภีร์ธรรมะ)
-
คำอธิบายพระสูตรพระศรีอริยเมตไตรยสามพระสูตร
-
คำอธิบายพระสูตรแสงทองอันรุ่งเรือง
-
พระสูตรมหาไวโรจนภิสัมโพธิ
-
บันทึกคำอธิบายเกี่ยวกับอวตังสกสูตร หรือ หัวเหยียน
-
ข้อสงสัยของเอ็นจิน
-
ข้อสงสัยของเอ็นจิน
-
บทกวีอำลาและจดหมายจากผู้คนในราชวงศ์ถัง