คำอธิบายพระสูตรแสงทองอันรุ่งเรืองข้อความท้ายเล่มของเอ็นจิน
ลายเส้นดำบนกระดาษขาว/ สองม้วน [เล่มกลาง]หนึ่งเล่ม 23 แผ่น[เล่มหลัง]หนึ่งเล่ม 21 แผ่น
- [ม้วนที่ 1]เล่มกลาง ข้อความท้ายเล่มของเอ็นจิน
- [ม้วนที่ 2]เล่มหลัง ข้อความท้ายเล่มของเอ็นจิน


- ต้นฉบับ
- การแปล


- ต้นฉบับ
- การแปล
"คงโคเมียวเคียวมงคุ" (คำอธิบายพระสูตรแสงทองอันรุ่งเรือง) เป็นคัมภีร์อรรถาธิบายที่จัดทำขึ้นโดย โชอันกันโจ (561–632) ผู้เป็นศิษย์ของ พระจื้ออี๋ นิกายเทียนไถ และ ดนมุชิน จากโฮคุเรียว ผู้แปลพระคัมภีร์ "คงโคเมียวเคียว" (พระสูตรแสงทองอันรุ่งเรือง) โชอันกันโจ ได้เรียบเรียงและเขียนคำอรรถาธิบาย โดยการเชื่อมโยงคำอธิบายกับข้อความในพระคัมภีร์และตีความทุกเล่มตามแบบฉบับของสำนักเท็นได
คัมภีร์ที่มีการตีความ พระสูตรแสงทองอันรุ่งเรือง มีหลายเล่ม ได้แก่ คงโคเมียวเคียวเก็งกิ คันนอนเก็งกิ
คันนอนกิโซ และ คันมุเรียวจุเกียวโช "คงโคเมียวเคียวมงคุ" (คำอธิบายพระสูตรแสงทองอันรุ่งเรือง) ถือเป็นหนึ่งใน "ห้าคัมภีร์ย่อยของนิกายเท็นได"
คัมภีร์ที่มีการตีความ พระสูตรแสงทองอันรุ่งเรือง มีหลายเล่ม ได้แก่ คงโคเมียวเคียวเก็งกิ คันนอนเก็งกิ
คันนอนกิโซ และ คันมุเรียวจุเกียวโช "คงโคเมียวเคียวมงคุ" (คำอธิบายพระสูตรแสงทองอันรุ่งเรือง) ถือเป็นหนึ่งใน "ห้าคัมภีร์ย่อยของนิกายเท็นได"
- ประเภท
- สมบัติของชาติ
- สมัย
- 13 สิงหาคม ค.ศ.857
- ขนาด
- [ม้วนที่ 1] 28.5×1240.0 ซม. [ม้วนที่ 2] 27.0×1060.0 ซม.
เอกสารและหนังสือที่เกี่ยวข้อง
-
บันทึกรายการแสวงธรรมที่วัดไคหยวน
-
บันทึกรายการแสวงธรรมในฝูโจว เวินโจว และไท่โจว
-
บันทึกรายการพระสูตรที่แสวงธรรมที่วัดชิงหลง
-
บันทึกรายการแสวงธรรมที่วัดกั๋วชิง
-
บันทึกรวมรายการแสวงธรรมที่วัดกั๋วชิงและวัดอื่นๆ
-
บงเคียว (ชุดคัมภีร์ธรรมะ)
-
คำอธิบายพระสูตรพระศรีอริยเมตไตรยสามพระสูตร
-
ทฤษฎีเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท (เอนโชรน)
-
พระสูตรมหาไวโรจนภิสัมโพธิ
-
บันทึกคำอธิบายเกี่ยวกับอวตังสกสูตร หรือ หัวเหยียน
-
ข้อสงสัยของเอ็นจิน
-
ข้อสงสัยของเอ็นจิน
-
บทกวีอำลาและจดหมายจากผู้คนในราชวงศ์ถัง